Loading...
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์
จันทร์ - ศุกร์ : 08.30 - 16.30 น.
056-219100-29
NSRU (SDGs)
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
วิจัยและนวัตกรรม
การเรียนการสอน
ศิลปะและวัฒนธรรม
โครงการ เพิ่มศักยภาพชุมชน Soft Power บนฐานอัตลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น (Food อาหารไทย) กิจกรรม ฟื้นฟูสำรับอาหารที่เป็นอัตลักษณ์ของนครสวรรค์
SDGs :
2
12
14 ธันวาคม 2567
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โครงการ เพิ่มศักยภาพชุมชน Soft Power บนฐานอัตลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น (Food อาหารไทย) กิจกรรม ฟื้นฟูสำรับอาหารที่เป็นอัตลักษณ์ของนครสวรรค์
วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ.2567 ณ ห้องประชุมนนทรี คณะวิทยาศาสตรืและเทคโนโลยี
โดยมี
อาจารย์สาขาวิชาคหกรรม จำนวน 5 คน และ
ผู้ประกอบการภายนอกและนักศึกษาที่สนใจ จำนวน 50 คน เข้าร่วม
หลักการและเหตุผล
อาหารที่เป็นอัตลักษณ์ของนครสวรรค์ ถือเป็นรสชาติแห่งวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาแต่สมัยโบราณ ใช้วัตถุดิบที่มีในชุมชนและวิธีการปรุงที่เป็นเอกลักษณ์สะท้อนถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของจังหวัดนครสวรรค์ อีกทั้งอาหารถิ่นยังสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยว การฟื้นฟูอาหารถิ่นที่มีเอกลักษณ์ของจังหวัดนครสวรรค์จะช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและยังช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของจังหวัดนครสวรรค์อีกด้วย
ทั้งนี้จึงควรฟื้นฟู อนุรักษ์อาหารที่เป็นอัตลักษณ์ของนครสวรรค์
โดยกระบวนการมุ่งเน้นการนำอาหารท้องถิ่นดั้งเดิมกลับมาสู่ความนิยมและเป็นที่รู้จัก และจัดทำเป็นตำรับอาหารสูตรมาตรฐานเพื่อไว้ใช้ต่อยอดในอนาคตได้
ผลที่ได้จากโครงการ
มีตำรับอาหารมาตรฐานจำนวน 5 ตำรับ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
อาจารย์ทศพร โพธิ์เนียม
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี