Loading...
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์
จันทร์ - ศุกร์ : 08.30 - 16.30 น.
056-219100-29
NSRU (SDGs)
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
การเรียนการสอน
โครงการสร้างและส่งเสริมนักศึกษาครูตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ในหลวงรัชกาลที่ 10
SDGs :
4
15 กุมภาพันธ์ 2568
คณะครุศาสตร์
1. ชื่อโครงการ
โครงการสร้างและส่งเสริมนักศึกษาครูตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ในหลวงรัชกาลที่ 10
ชื่อกิจกรรม
โครงการสร้างและส่งเสริมนักศึกษาครูตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ในหลวงรัชกาลที่ 10
2. ผู้รับผิดชอบโครงการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทินกร ชอัมพงษ์ และอาจารย์ณิชารีย์ ป้อมสัมฤทธิ์
3. หลักการและเหตุผล
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ได้น้อมน าพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ในหลวง รัชกาลที่ 10 ที่ อันประกอบด้วย 4 ประการ “คือ 1.มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง 2.มีพื้นฐานชีวิตที่
มั่นคง – มีคุณธรรม 3.มีงานท า–มีอาชีพ 4.เป็นพลเมืองที่ดีและน้อมน าพระบรมราโชบาย, พระราโชบายของ
พระบรมวงศานุวงศ์”อันเกี่ยวเนื่องกับการจัดการศึกษา เช่น การส่งเสริมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอัน
เป็นแนว ทางการด าเนินชีวิตและวีถีปฏิบัติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 ซึ่งส านักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้ส่งเสริมการน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
โดยประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ซึ่งได้ก าหนด 1 ใน 5 เป้าหมายของ
หลักสูตร คือ “การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มีวินัย และปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” จึงเป็นการ
ปลูกฝังผู้เรียนให้ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการคิด การปฏิบัติตน และคุณลักษณะในการด าเนิน
ชีวิต ในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับที่ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้น้อมน าแนวพระราชด าริ
ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงด้านการจัดการศึกษาวิชา
ประวัติศาสตร์ ซึ่งต้องสร้างความรู้ความเข้าใจ อันถูกต้องที่มีต่อชาติบ้านเมือง
4. วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อให้นักศึกษาครูมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายด้านการศึกษา ตามพระบรมราโชบายด้าน
การศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10
2. เพื่อให้นักศึกษาครูมีส่วนร่วมในการเป็นพลเมืองที่ดีตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษาในหลวง
รัชกาลที่ 10
3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาครูได้เรียนรู้ถึงนวัตวิถีของท้องถิ่นและชุมชน มีจิตส านึกรักและภูมิใจใน
ท้องถิ่นชุมชนของตนเอง
5. ความสอดคล้องกับ ตัวชี้วัด/ตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจ าปีของคณะครุศาสตร์
5.1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับมาตรฐานการผลิตบัณฑิตและพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา
ที่มีขีดสมรรถนะสูงด้วยนวัตกรรม
5.2 กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่มาตรฐานสากล
5.3 ตัวชี้วัดที่ 2.6 จ านวนครูและบุคลากรทางการศึกษาที่สามารถน าการเปลี่ยนแปลง (Change
Agent) ชุมชนท้องถิ่น/โรงเรียนระดับชาติและนานาชาติ
6. ระยะเวลาด าเนินการ
ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์2568
7. สถานที่จัดโครงการ/กิจกรรม
ณ โดมอเนกประสงค์ ข้างอาคาร 15 (2 โดม) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
8. กลุ่มเป้าหมาย
นักศึกษาคณะครุศาสตร์จ านวน 315 คน
9. ผลการประเมินโครงการตามตัวชี้วัดความส าเร็จของโครงการ
1. นักศึกษาครูน าพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 ไปใช้ในการพัฒนา
นักเรียน
2. นักศึกษาสามารถน าพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 ไปใช้ได้ นักศึกษา
ครูเป็นพลเมืองที่ดีตามบรมราโชบายด้านการศึกษาในหลวงรัชกาลที่ 10
10. สรุปผลการด าเนินงาน
ผลผลิต (Output)
นักศึกษาครูมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายด้านการศึกษา ตามพระบรมราโชบายด้าน
การศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 นักศึกษาครูได้เรียนรู้ถึงนวัตวิถีของท้องถิ่นและชุมชน มีจิตส านึกรักและ
ภูมิใจในท้องถิ่นชุมชนของตนเอง นักศึกษาครูมีส่วนร่วมในการเป็นพลเมืองที่ดีตามพระบรมราโชบายด้าน
การศึกษาในหลวงรัชกาลที่ 10
ผลลัพธ์(Outcome)
นักศึกษาสามารถน าพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 ไปใช้ได้ นักศึกษาครู
เป็นพลเมืองที่ดีตามบรมราโชบายด้านการศึกษาในหลวงรัชกาลที่ 10
ผลกระทบ (Impact)
นักศึกษาครูน าพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 ไปใช้ในการพัฒนานักเรียน
คณะครุศาสตร์
คณะครุศาสตร์
คณะครุศาสตร์
คณะครุศาสตร์
คณะครุศาสตร์
คณะครุศาสตร์
คณะครุศาสตร์
คณะครุศาสตร์