Loading...
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์
จันทร์ - ศุกร์ : 08.30 - 16.30 น.
056-219100-29
วิจัยและนวัตกรรม การเรียนการสอน บริการวิชาการ

การพัฒนานวัตกรสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพการพัฒนาเชิงพื้นที่ด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ กิจกรรมที่ 2 การพัฒนากระบวนการนำใช้ข้อมูลชุมชุน และเครื่องมือตามกรอบงานวิศวกรสังคม

SDGs : 1 8 17

30 ตุลาคม 2567 สำนักงานอธิการบดี

การพัฒนานวัตกรสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพการพัฒนาเชิงพื้นที่ดวยกระบวนการวิศวกรสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์


The Developing innovators to increase spatial development potential through


the social engineering process of Nakhon sawan Rajabhat University.


 
          กิจกรรมที่ 2 การพัฒนากระบวนการนำใช้ข้อมูลชุมชุน และเครื่องมือตามกรอบงานวิศวกรสังคมตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ


เชิงปริมาณ


1. ชุมชนเป้าหมาย จำนวน 6 แห่ง นำองค์ความรู้และนวัตกรรมแก้โจทย์ปัญหาเชิงพื้นที่ไปต่อยอดและใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเองและชุมชนอย่างยั่งยืน


2. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏที่ได้รับการพัฒนาทักษะวิศวกรสังคม อย่างน้อยร้อยละ 80 มีความสามารถเป็นเป็นนักพัฒนาเพื่อชุมชนท้องถิ่นและสามารถพัฒนานวัตกรรมแก้โจทย์ปัญหาเชิงพื้นที่ด้วยกระบวนการวิศวกรสังคมได้


3. จำนวนโครงการของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่นักศึกษาและบุคลากรประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน


เชิงคุณภาพ


1. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏมีทักษะในการเป็นวิศวกรสังคม ได้แก่ นักคิด นักสื่อสาร
นักประสานงาน และนักสร้างนวัตกรรมเพื่อชุมชน เพื่อก้าวเข้าสู่การเป็น “นักพัฒนาเพื่อชุมชน”
ที่มีประสิทธิภาพ


2. บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏมีทักษะการเป็นที่ปรึกษาวิศวกรสังคม


3. ความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ